วันอังคารที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2561

8.3 องค์ประกอบของโครงการ


เรื่องที่ 3 องคประกอบของโครงการ 
 การเขียนโครงการที่เปนไปตามลําดับขั้นตอน เปนเหตุเปนผล และนาเชื่อถือ ควรมีการกําหนดองคประกอบของการเขียนโครงการ ไวดังนี้
1. ชื่อโครงการ             : ชื่อโครงการอะไร
2. หลักการและเหตุผล    : เหตุผลทําไมตองทําโครงการ
3. วัตถุประสงค             : ทําโครงการนี้ทําไปเพื่ออะไร
4. เปาหมาย               : ปริมาณเทาใด ทํากับใคร จํานวนเทาใด
6. วิทยากร (ถามี)         : ระบุวาใครเปนผูใหความรู (ใชเฉพาะโครงการอบรม)
 5. วิธีดําเนินการ          : โครงการนี้ทําอยางไร ดําเนินการอยา งไร
6. ระยะเวลาดําเนินการ    : จะทําเมื่อใดและนานแคไหน
7. สถานที่ดําเนินการ      : จะทําที่ไหน 
8. งบประมาณและทรัพยากรอื่น ๆ  : ระบุวาใชทรัพยากรอะไร มีคาอะไรบาง
9 ผูรับผิดชอบโครงการ              : ใครเปนคนทําโครงการ
10. หนวยงานที่เกี่ยวของ            : ระบุวาประสานกับหนวยงานใดบาง
11. การประเมินผล                 : จะใชวิธีการใดที่ทําใหรูวา โครงการ ประสบความสําเร็จ
12. ผลที่คาดวาจะไดรับ              : จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงการ
13. ผูประสานงานโครงการ         : ระบุวาใครเปนผูประสานงานโครงการ



เรื่อง4 ขั้นตอนการเขียนโครงการ  
ขั้นตอนการเขียนโครงการ มีดังนี้
 1. สํารวจชุมชนและสังคม เปนการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ สภาพปญหาตาง ๆ ที่มีอยูในชุมชน เพื่อนําขอมูลเหลานั้นมาวิเคราะห  และกําหนดแนวทางการพัฒนา การแกปญหา โดยการศึกษาสภาพปญหา และสาเหตุของปญหา เพื่อหาวิธีการคิดคน วิธีการพัฒนา และสาเหตุของปญหา โดยใชวิธีการสํารวจขอมูลที่หลากหลาย เชน การสังเกต การศึกษาภูมิหลัง ของชุมชน การสัมภาษณ การสอบถาม การทําเวทีประชาคม ฯลฯ เปนตน 
 2. ตรวจสอบขอมูล หลังจากที่มีการสํารวจขอมูลชุมชน  และนําขอมูลมา สรุปเรียบรอยแลว เพื่อความถูก  ตองชัดเจนของขอมูลดังกลาว ควรจัดใหมีเวทีเพื่อการ ตรวจสอบขอมูล โดยกลุมเปาหมายที่ใหขอมูลที่สํารวจมาไดมีความถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น 
 3. นําขอมูลที่ไดหลังจากตรวจสอบเรียบรอยแลวมาวิเคราะหพรอมจัดลําดับความสําคัญ  เพื่อจําแนกความสามารถในการจัดทําโครงการ 
4. การกําหนดแนวทางการดําเนินงานเพอื่ พฒั นาและแกปัญหาชุมชนและสังคม เมื่อผูรับผิดชอบโครงการไดสํารวจชุมชนและสังคม ดําเนินการวิเคราะหสภาพปญหาของชุมชน สังคม และผลสรุปการวิเคราะหของสภาพ     ปญหาชุมชนและสังคมแลว ก็ตองมากําหนด แนวทางการดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาชุมชน สังคมวาชุมชน  และสังคมนั้น ๆ มีสภาพปญหาเปนอยางไรมีความตองการอยางไร แลวจึงกําหนดแนวทางแกไขตามสภาพปญหานั้น หรือ เขียนแนวทางเพื่อสนองความตองการของชุมชนและสังคมนั้นๆ ทั้งนี้ ควรเขียนในลักษณะของโครงการเพื่อดําเนินการ  ในการกําหนดแนวทางการดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาชุมชนและสังคมควรขอ ความรวมมือจากบุคคล หนวยงานที่มี สวนเกี่ยวของกับเรื่องที่จะดําเนินการแกไขปญหา หรือพัฒนาไดเขามารวมในการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน     หรือรวมกันเขียนโครงการดวย 
 5. การเขียนและเสนอขออนุมัติโครงการการเขียนโครงการผูเขียนโครงการตองนําขอมูลจากการศึกษาสภาพปญหาของชุมชนและสังคม และขอมูลที่ไดจากการกําหนด แนวทางการดําเนินงานมาใชเปนขอมูลประกอบในการเขียนโครงการ ซึ่งการเขียนโครงการ ควรเขียนใหเปนไปตามรูปแบบขององคประกอบการเขียนโครงการ
  

ตัวอยางโครงการ
1.       ชื่อโครงการ โครงการอนุรักษสิ่งแวดลอม (กิจกรรมปลูกตนไมในที่สาธารณะ)
2.       หลักการและเหตผุล ดวยสภาพในปจจุบันมีจํานวนประชากรเพิ่มมากขึ้นทําใหทรัพยากรตาง ๆ ที่มีอยูถูกใชไป
อยางสิ้นเปลืองจนนาวิตก สภาพตนไมถูกทําลายลง บานเมืองขยายตัวออกไปอยางรวดเร็ว  ทําใหประชาชนที่อาศัยอยูในชุมชนในเมืองขาดรมเงาจากตนไมสําหรับพักผอนหยอนใจ ดังนั้น จึงควรสงเสริมใหมีการปลูกตนไม เพื่อใหเกิดสภาพแวดลอมที่รมรื่นรมเย็น เพื่อชวยรักษา สภาพแวดลอมทางธรรมชาติทางออม รวมทั้งยังเปนการฝกใหลูกเสือเกิดความรักและหวงแหน ในตนไม จึงเห็นสมควรใหมี โครงการ/โครงงานนี้ขึ้น
3. วัตถุประสงค
3.1 เพื่อใหมีตนไมเปนรมเงาสําหรับพักผอนหยอนใจ
3.2 เพื่อใหลูกเสือตระหนักถึงความสําคัญของตนไมวามีประโยชนตอมนุษยและสัตว
3.3 ใหลูกเสือไดมีโอกาสบําเพ็ญประโยชนตอชุมชนและสังคม
3.4 ฝกใหลูกเสือมีทักษะในการปลุกตนไมยิ่งขึ้น
4. เปาหมาย
4.1 เชิงปริมาณ      ลูกเสือปลูกตนไมอยางนอยคนละ 1 ตน
 4.2 เชิงคุณภาพ      ลูกเสือมีสวนรวมในการปลูกตนไม
5. วิธีดําเนินงาน
5.1 ประชุมวางแผนการปลูกตนไมรวมกับสมาชิกกองลูกเสือ กศน.
5.2 ติดตอของพันธุกลาไมจากศูนยเพาะชํากลาไม
5.3 จัดสภาพแวดลอมบริเวณที่จะปลูกตนไม ติดปายโฆษณาใหบุคคลทั่วไปทราบและ ขอความรวมมือในการบํารุงรักษาตนไม
   5.4 ใหลูกเสือจัดเตรียมเครื่องมือ และอาหารไปใหพรอม 5.5 ลงมือปฏิบัติการ 5.6 สรุปและประเมินผล
6. สถานที่          สวนสาธารณะ วัด หรือโรงเรียน
7. ระยะเวลา      ระหวางเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนมิถุนายน
8. งบประมาณ      ใชเงินบริจาค จํานวน 3,000 บาท
9. ผูรับผิดชอบโครงการ      ผูเสนอโครงการรวมกับสมาชิกกองลูกเสือ กศน.
10. หนวยงานที่เกี่ยวของ      ศูนยเพาะชํากลาไม
11. การติดตาม ประเมินผล   สังเกตพฤติกรรมของลูกเสือ กศน.
12. ผลที่คาดวาจะไดรับ         จะมีตนไมเพิ่มขึ้นจํานวนหนึ่ง บริเวณดังกลาวจะมีรมเงาของตนไมสําหรับพักผอน   หยอนใจ
13.ผู้ประสานโครงการ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................            
ลงชื่อ ...........................................ผูเสนอโครงการ
                                            (.............................................)
หัวหนานายหมูลูกเสือ กศน. อําเภอ/เขต.......................

     ลงชื่อ..............................................ที่ปรึกษาโครงการ                                             
      (...........................................)  ครู กศน. ตําบล
                                                  ผูกํากับกองลูกเสือ
      
         ลงชื่อ................................................ ผูเห็นชอบโครงการ
                                               (…………………………….…………)   
                                                   ครูผูกํากับกลุมลูกเสือ

ลงชื่อ................................................ผูอนุมัติโครงการ
                                             (.......................................)     
ผูอํานวยการศูนย กศน. อําเภอ/เขต............................



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น